ตัวอย่างสายไฟฟ้าแรงต่ำชนิดต่าง ๆ
|
![](https://www.safe-t-cut-cm.com/uploads/1116/images/wire2.gif)
การเลือกใช้สายไฟฟ้า
|
|
ขนาดสายไฟฟ้าตามขนาดของเมนสวิตช์
|
ขนาดเครื่องวัดฯ
(แอมแปร์) |
เฟส
|
ขนาดสูงสุดของ
เมนสวิตช์(แอมแปร์) |
ขนาดต่ำสุดของสายเมนและ
(สายต่อหลักดิน)** ตร.มม. |
แรงดันไฟฟ้าของ
สายเมน(โวลต์) | |
สายเมนในอากาศ
|
สายเมนในท่อ
| ||||
5 (15)
|
1
|
16
|
4 (10)
|
4,10**(10)
|
300
|
15 (45)
|
1
|
50
|
10 (10)
|
16 (10)
|
300
|
30 (100)
|
1
|
100
|
25 (10)
|
50 (16)
|
300
|
50 (150)
|
1
|
125
|
35 (10)
|
70 (25)
|
300
|
15 (45)
|
3
|
50
|
10 (10)
|
16 (10)
|
750
|
30 (100)
|
3
|
100
|
25 (10)
|
50 (16)
|
750
|
50 (150)
|
3
|
125
|
35 (10)
|
70 (25)
|
750
|
200
|
3
|
250
|
95 (25)
|
150 (35)
|
750
|
400
|
3
|
500
|
240 (50)
|
500 (70)
|
750
|
หมายเหตุ
* สายต่อหลักดินขนาด 10 ตร.มม. ให้เดินในท่อ ส่วนสายเมนที่ใหญ่กว่า 500 ตร.มม. ให้ใช้สายต่อหลักดิน ขนาด 95 ตร.มม. เป็นอย่างน้อย
** สายเมนที่ใช้เดินในท่อฝังดินต้องไม่เล็กกว่า 10 ตร.มม. |
5.ขนาดต่ำสุดของสายดินที่เดินไปยังอุปกรณ์ไฟฟ้าหรือเต้ารับให้มีขนาดเป็นไปตามขนาดปรับตั้งของเครื่องป้องกันกระแสเกินตามตารางต่อไปนี้
|
ขนาดต่ำสุดของสายดินของเครื่องอุปกรณ์ไฟฟ้า
|
พิกัดหรือขนาดปรับตั้งของ
เครื่องป้องกันกระแสเกิน (แอมแปร์) |
ขนาดต่ำสุดของสายดินตัวนำทองแดง
(ตร.มม.) |
6 - 16
|
1.5
|
20 - 25
|
4
|
30 - 63
|
6
|
80 - 100
|
10
|
125 - 200
|
16
|
225 - 400
|
25
|
500
|
35
|
600 - 800
|
50
|
1,000
|
70
|
1,200 - 1,250
|
95
|
1,600 - 2,000
|
120
|
2,500
|
185
|
3,000 - 4,000
|
240
|
5,000 - 6,000
|
420
|
หมายเหตุ เครื่องป้องกันกระแสเกิน อาจจะเป็นฟิวส์หรือเบรกเกอร์ (สวิตช์อัตโนมัติ) ก็ได้ |
ตัวอย่างขนาดสายไฟฟ้าชนิดที่มีสายดินตาม มอก. 11-2531
| ||
ขนาดสายไฟพร้อมสายดิน (ตร.มม.)
|
สายดินใช้สายเดี่ยว (THW) ฉนวนสีเขียว (ตร.มม.)
| |
สายไฟ
|
สายดิน
|
ขนาดสายดิน
|
2.5
|
1.5
|
2.5
|
4.0
|
2.5
|
2.5
|
6.0
|
4.0
|
4.0
|
10.0
|
4.0
|
4.0
|
16.0
|
6.0
|
6.0
|
25.0
|
6.0
|
6.0
|
35.0
|
10.0
|
10.0
|
หมายเหตุ ในกรณีที่สายดินเดินด้วยสายเดี่ยว สำหรับสายเส้นไฟตั้งแต่ขนาด 2.5 ตร.มม.ลงไป ขอแนะนำให้ใช้ขนาดสายดินเท่ากับขนาดสายเส้นไฟ เช่น |
ขนาดสายไฟ (ตร.มม.)
|
ขนาดสายดิน (ตร.มม.)
|
2.5
|
2.5
|
1.5
|
1.5
|
1.0
|
1.0
|
6.การเลือกใช้ขนาดสายไฟฟ้าให้เหมาะสมกับสภาพการใช้งานต่างๆ ให้เป็นไปตามตารางแสดงพิกัดกระแสไฟฟ้าดังนี้
|
ตารางแสดงขนาดกระแสของสายไฟฟ้า
| |||||||
ขนาดสาย
(ตร.มม.) |
ขนาดกระแส (แอมแปร์)
| ||||||
วิธีการเดินสาย (ดูหมายเหตุ)
| |||||||
ก
|
ข
|
ค
|
ง
|
จ
| |||
ท่อโลหะ
|
ท่ออโลหะ
|
ท่อโลหะ
|
ท่ออโลหะ
| ||||
0.5
|
9
|
8
|
8
|
7
|
10
|
9
|
-
|
1
|
14
|
11
|
11
|
10
|
15
|
13
|
21
|
1.5
|
17
|
15
|
14
|
13
|
18
|
16
|
26
|
2.5
|
23
|
20
|
18
|
17
|
24
|
21
|
34
|
4
|
31
|
27
|
24
|
23
|
32
|
28
|
45
|
6
|
42
|
35
|
31
|
30
|
42
|
36
|
56
|
10
|
60
|
50
|
43
|
42
|
58
|
50
|
75
|
16
|
81
|
66
|
56
|
54
|
77
|
65
|
97
|
25
|
111
|
89
|
77
|
74
|
103
|
87
|
125
|
35
|
137
|
110
|
95
|
91
|
126
|
105
|
150
|
50
|
169
|
-
|
119
|
114
|
156
|
129
|
177
|
70
|
217
|
-
|
148
|
141
|
195
|
160
|
216
|
95
|
271
|
-
|
187
|
180
|
242
|
200
|
259
|
120
|
316
|
-
|
214
|
205
|
279
|
228
|
294
|
150
|
364
|
-
|
251
|
236
|
322
|
259
|
330
|
185
|
424
|
-
|
287
|
269
|
370
|
296
|
372
|
240
|
509
|
-
|
344
|
329
|
440
|
352
|
431
|
300
|
592
|
-
|
400
|
373
|
508
|
400
|
487
|
400
|
696
|
-
|
474
|
416
|
599
|
455
|
552
|
500
|
818
|
-
|
541
|
469
|
684
|
516
|
623
|
หมายเหตุ 1. วิธีการเดินสาย
| ||
![]() | ![]() | |
แบบ ก หมายถึง สายแกนเดียวหุ้มฉนวนเดินในอากาศ | แบบ ข หมายถึง สายแบบหุ้มฉนวนมีเปลือกเดินเกาะผนัง | |
![]() | ![]() | |
แบบ ค หมายถึง สายแกนเดียวหุ้มฉนวนไม่เกิน 3 เส้น หรือสายหุ้มฉนวนมีเปลือกไม่เกิน 3 แกน (ไม่ต้องนับสายดิน) เดินในท่อในอากาศ ในท่อฝัง ในผนังปูนฉาบหรือในท่อในฝ้าเพดาน
|
แบบ ง หมายถึง สายแกนเดียวหุ้มฉนวนไม่เกิน 3 เส้น หรือสายหุ้มฉนวนมีเปลือกไม่เกิน 3 แกน (ไม่ต้องนับสายดิน) เดินในท่อฝังดิน
| |
![]() | ||
แบบ จ หมายถึง สายแกนเดียวหุ้มฉนวนมีเปลือกไม่เกิน 3 เส้น หรือสายหุ้มฉนวนมีเปลือกไม่เกิน 3 แกน (ไม่ต้องนับสายดิน) ฝังดินโดยตรง
| ||
2. วิธีนับจำนวนสายในท่อ (แบบ ค ถึงแบบ จ) | ||
2.1 ไม่ต้องนับสายเส้นศุนย์ของระบบ 3 เฟส ที่ออกแบบให้ใช้ไฟสมดุลย์ทั้ง 3 เฟส ยกเว้นหมายเหตุ ข้อ 2.2 2.2 ถ้าการใช้ไฟฟ้ามากกว่า 50% มาจากอุปกรณ์ที่ทำให้เกิดกระแสฮาร์โมนิกในสายเส้นศูนย์ เช่น หลอดฟลูออรสเซนต์ เครื่องคอมพิวเตอร์ ให้นับรวมสายเส้นศูนย์ด้วย 2.3 การนับจำนวนสายไฟฟ้าในท่อที่มีมากกว่า 3 เส้น ให้ใช้ตัวคูณเพื่อลดขนาดของกระแสในสายไฟฟ้า ดังนี้ |
จำนวนสาย (เส้น)
|
ตัวคูณ
|
4 - 6
|
0.82
|
7 - 9
|
0.72
|
10 -20
|
0.56
|
21 - 30
|
0.48
|
31 - 40
|
0.44
|
เกิน 40
|
0.38
|
2.4 การเดินสายในท่อหรือรางเคเบิ้ลควรเว้นที่ว่างไว้โดยพื้นที่หน้าตัดรวมของสายไฟทุกเส้นรวมทั้งฉนวนและเปลือกไม่ควรเกิน 40 % ของพื้นที่หน้าตัดภายในของท่อหรือรางเคเบิ้ลนั้น
|
การเดินสายไฟฟ้า
|
1.เลือก ว่าจ้างช่างเดินสายไฟฟ้าที่มีประสบการณ์สูงหรือช่างที่เคยผ่านการอบรมจากการ ไฟฟ้านครหลวงแล้ว (ขอทราบรายชื่อได้ที่แผนกบริการของการไฟฟ้านครหลวงทุกเขต)
| ![]() |
2.หลีก เลี่ยงการมีจุดต่อสายไฟฟ้าเกินความจำเป็น หากมีการต่อสายก็ต้องเลือกใช้อุปกรณ์การต่อสายที่ถูกต้องมั่นคงแข็งแรง (ห้ามใช้ตะกั่วบัดกรีในการต่อสายโดยลำพังแต่อย่างเดียว เนื่องจากตะกั่วจะทนอุณหภูมิได้ต่ำและหลอมละลายทำให้จุดต่อหลวม ยกเว้นจะต่อสายไฟให้มั่งคงแข็งแรงทางกลก่อนแล้วจึงใช้ตะกั่วบัดกรีทับเป็น การ เสริมก็ได้)
| |
3.สายไฟฟ้าที่ทะลุผ่านผนังหรือออกมาจากอุปกรณ์ไฟฟ้าต้องมีฉนวนรองรับเพื่อป้องกันฉนวนของสายไฟฟ้าถูกบาดจนชำรุด
| |
4.สาย ไฟฉนวนสีดำ ใช้สำหรับสายเส้นที่มีไฟ ส่วนสีเทาอ่อนหรือสีขาว ใช้สำหรับสายเส้นที่ไม่มีไฟ (สายศูนย์) สำหรับสีเขียวหรือเขียวสลับเหลืองใช้สำหรับสายดิน (รายละเอียดวิธีการเดินสายที่ถูกต้องให้ดูในเรื่องสายดิน)
| |
5.อุปกรณ์ ป้องกันกระแสไฟฟ้าเกิน เช่น ฟิวส์ หรือเบรกเกอร์ รวมทั้งสวิตซ์ปิด-เปิด ให้ต่อเฉพาะกับสายไฟที่มีฉนวนสีดำ (เส้นที่มีไฟ) เท่านั้น และห้ามต่อฟิวส์ในสายเส้นที่ไม่มีไฟ (เส้นศูนย์) ในกรณีที่ใช้เบรกเกอร์ หรือสวิตซ์ในเส้นศูนย์ด้วยต้องเป็นชนิดที่ตัดไฟหรือปลดสายไฟทุกเส้นออกพร้อม กัน (2 ขั้วพร้อมกัน)
| |
6.กรณี ที่จะมีการต่อเติมเดินสายไฟบางส่วนแล้วพบว่า การเดินสายไฟเดิมทั้งบ้านใช้สีของสายไฟสลับกันกับมาตรฐานเหมือนกันทั้งหมด (เส้นที่มีไฟใช้สีขาว เส้นศูนย์ใช้สีดำ) หากไม่สามารถแก้ไขใหม่ได้ขอแนะนำให้ใช้สีของสายไฟระบบเดียวกันทั้งบ้าน แต่ต้องมีเครื่องหมายหรือเอกสารกำกับไว้ที่แผงสวิตซ์หรือ ตู้เมนสวิตซ์สำหรับช่างไฟฟ้าและเจ้าของบ้านทราบทุกครั้งที่มีการตรวจสอบด้วย
| |
7.กรณี ของสายดิน ถ้าใช้สายดินเป็นเส้นเดียวต้องมีฉนวนเป็นสีเขียวและถ้าสายวงจรเดินในท่อโลหะ ต้องเดินสายดินในท่อเดียวกับสายวงจรด้วยห้ามเดินนอกท่อ โลหะ
| |
8. สายไฟสายเดี่ยวที่เป็นฉนวนชั้นเดียวเช่นสาย THW. ไม่อนุญาตให้เดินสายโดยใช้เข็มขัดรัดสาย | |
9. สายเมนที่มีขนาดต่ำกว่า 50 ตร.มม. ไม่ควรนำมาควบสาย
|
การตรวจสอบสายไฟฟ้า
|
1.ตรวจ สอบการเดินสายไฟว่าใช้สีถูกต้องตามมาตรฐานหรือไม่ (ใช้ไขควงลองไฟ) หากไม่ถูกต้องเพียงบางจุดให้แก้ไขสลับสายใหม่ หากไม่ถูกต้องตลอดทั้งอาคารเหมือนกันหมดให้มีเครื่องหมายหรือเอกสารกำกับไว้ ที่แผงสวิตซ์หรือตู้เมนสวิตซ์ด้วย เพื่อป้องกันการเข้าใจผิดภายหลัง
2.ตรวจสอบจุดต่อสาย การเข้าสายต้องขันให้แน่นอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 3.สังเกต อุณหภูมิของสายโดยใช้การสัมผัสที่ผิวฉนวนของสาย ถ้ารู้สึกอุ่นหรือร้อนแสดงว่ามีสิ่งผิดปกติ อาจเนื่องจากใช้ไฟเกินขนาดของสาย หรือมีจุดต่อสายต่าง ๆ ไม่แน่น เช่น บริเวณปลั๊กไฟ เต้ารับ สวิตซ์ เป็นต้น | |
![]() |
4.สังเกต สีของเปลือกสาย ถ้าสายไฟบางเส้นมีสีเปลี่ยนไป เช่น สีขาว เปลี่ยนเป็นสีคล้ำหรือมีฝุ่นจับมาก แสดงว่ามีอุณหภูมิสูงกว่าปกติอาจมีการใช้ไฟเกินขนาดสายหรือมีการต่อสายไม่ แน่น เป็นต้น
5.ฉนวนของสายไฟฟ้าต้องไม่มีการแตกกรอบ ไม่มีรอยไหม้ ชำรุด ถ้าพบควรหาสาเหตุแล้วแก้ไขสาเหตุ พร้อมเปลี่ยนสายใหม่ 6.หมั่นตรวจสอบสภาพของสายไฟฟ้าปีละ 1 ครั้ง เป็นอย่างน้อย โดยให้มีการบันทึกข้อมูลการตรวจสภาพไว้ทุกครั้งด้วย 7.กรณีที่มีการใช้ไฟฟ้ามากขึ้น ควรตรวจสอบขนาดของสายไฟฟ้าที่ใช้อยู่ว่าเหมาะสมหรือไม่ ถ้าขนาดสายไม่เพียงพอต้องเปลี่ยนใหม่ 8.ตรวจสอบสายไฟบริเวณที่ทะลุผ่านฝ้าเพดานหรือผนัง อาจมีรอยหนูแทะเปลือกของสาย ทำให้เกิดลัดวงจร และเกิดไฟไหม้ได้ |
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น